สำนวนไทย – ภาษาไทย ป.4
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
สำนวนไทย คือ ถ้อยคำหรือข้อความที่สืบต่อกันมาช้านาน มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมี ความหมายอื่นแฝงอยู่
สุภาษิต สำนวนไทย 20 คำ ควรจำไว้
สุภาษิต หมายถึง คำพูดที่พูดออกมา ไม่ว่าจะเป็นทำนอง สำนวนโวหาร ที่มีความหมายที่ดี ส่วนใหญ่คนไทยเราจะหยิบยกคำสุภาษิตมาเป็นตัวอย่างในการอบรมสั่งสอนลูกหลาน หรือบางครั้งใช้แสดงเปรียบเทียบประกอบการสนทนา สุภาษิต แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. คำสุภาษิตประเภทที่พูด อ่านหรือเข้าใจเนื้อความได้ทันที โดยไม่ต้องแปลความหมาย
2. คำสุภาษิตประเภทที่พูด อ่านหรือฟังแล้วต้องนึกตรึกตรอง ตีความหมายเสียก่อนจึงจะทราบ
สำนวน หมายถึง โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบเรียง เป็นลักษณะความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ ไม่แปลความหมายตามตัวอักษร จึงฟังแล้วมักจะไม่ได้ความหมายของตัวมันเอง ต้องนำไปประกอบกับเรื่อง หรือเหตุการณ์จึงจะได้ความหมายเป็นคติเตือนใจ เช่นเดียวกับคำที่เป็นสุภาษิต
วิชาภาษาไทย ชั้น ม.5 เรื่อง ลักษณะของสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย
สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 ม.6 ทุกคนที่ต้องการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์
นักเรียนสามารถทำแบบฝึกหัด และทำแบบทดสอบได้จาก เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันของเรา
Web: https://nockacademy.com/learn/
iOS: https://apple.co/2SKdksn
Android: http://bit.ly/2REzb7w
●สำหรับผู้ปกครองท่านใดที่สนใจ●
http://nockacademy.com
●สำหรับโรงเรียนใดที่สนใจ●
https://nockacademy.com/forschool/
เพลง สำนวนไทยใช้ดี
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง สำนวนไทย
เพลง สำนวนไทยใช้ดี
คำร้อง น.ส. ชญาน์นันท์ พรมมิจิตร์
ขับร้อง น.ส. ชญาน์นันท์ พรมมิจิตร์
ดัดแปลงจากเพลง คิดมาก ปาล์มมี่
เธออยากรู้ใช่ไหม ว่าสำนวนไทยมันมีความหมายว่าไง
สุภาษิตคำพังเพย มันแตกต่างจากสำนวนไทยยังไง
คำสุภาษิตก็คือ การพูดสั่งสอนหรือการให้ข้อคิด
ส่วนคำพังเพยนั้นก็คือ การเปรียบเทียบระหว่างสิ่งของสองอย่าง
สำนวนไทยนั้นก็คือ การเปรียบเทียบที่แปลไม่ตรงความหมาย
ใช้จูงใจ เน้นความ ย่อความ แทนคำพูดที่ไม่ต้องการ
อีกทั้งเพิ่มสีสันและเพิ่มความสวยงาม
นกสองหัว จับปลาสองมือ คุ้นบ้างไหม
ควรจะใช้ให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
แม้คำคล้ายแต่ใช้แทนกันไม่ได้ และต้องใช้ให้ถูกสถานการณ์
อยากจะขอให้ใช้สำนวนให้ดี หากเขียนผิดจะสื่อความหมายผิดนะ
ที่ถูกคือขนมพอสมน้ำยา แต่มักใช้ขนมผสมน้ำยา ผิดรู้เปล่า
เข้าใจมากขึ้นบ้างไหม ว่าสำนวนไทยมันมีความหมายว่าไง
หรือยังมึนงงและสับสน ถ้าเป็นแบบนี้ งั้นเรามาทวนอีกรอบ
( , )
เก๋ไก๋ผู้(ไม่)ฆ่ายักษ์!!
เก๋
FB : https://www.facebook.com/kaykai.overyes
IG : kaykai_ntch
ไปร์ท
FB :https://www.facebook.com/prite.netijen
IG : netijenn
เสียงพากย์และbackgroundสวยๆ
TAMZEN
สนใจสนับสนุนช่อง/sponsor
ส่งเมล์มาที่ : [email protected]
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Infomation